ทำไมฉันถึงต้องซ่อนอารมณ์กันนะ ? Emotion Mask

Good Mood อารมณ์ดี
เข้าใจอารมณ์ Positive Emotion แบบฝึกหัดสะท้อนตนเอง Self-reflection
10-15 นาที
1 ครั้ง/สัปดาห์
1 คน
ผู้ใหญ่/ทำงาน
1. เพื่อสำรวจเหตุการณ์ที่ต้องซ่อนอารมณ์ 2. เพื่อสำรวจสาเหตุที่ต้องซ่อนอารมณ์
ดาวน์โหลดเอกสาร

สามารถดาวน์โหลดเครื่องมือที่ใช้ในกิจกรรมได้จากปุ่ม “Download”

คำอธิบาย
ในชีวิตประจำวัน ไม่ใช่ทุกครั้งที่เราจะแสดงอารมณ์ที่แท้จริงออกมา การซ่อนอารมณ์อาจเกิดในบางสถานการณ์ที่จำเป็นต้องป้องกันตัวเองหรือเพื่อเชื่อมสัมพันธ์กับคนรอบข้าง เช่น ชายคนหนึ่งมีความกังวลในภาระหน้างานที่ได้รับและมีความเครียดสะสม แต่เมื่ออยู่ในที่ทำงานก็ต้องแสดงออกถึงความสุข สนุก และแสดงสีหน้าที่มีความมั่นใจ เป็นต้น แต่ในบางครั้งเรามักจะหลงลืมว่าการซ่อนอารมณ์นั้นอาจส่งผลให้เราลืมความรู้สึกที่แท้จริงไปได้ กิจกรรมนี้จะช่วยให้เรารับรู้ได้ว่าแท้ที่จริงแล้ว เรามักจะซ่อนอารมณ์อะไรเอาไว้เบื้องหลัง
วิธีการใช้งาน
บางครั้งเราสวมหน้ากากเพื่ออำพรางใบหน้า เช่น เวลาแสดงละครหรือแต่งชุดแฟนซี
ในชีวิตจริง บางครั้งเราก็สวม Emotion masks ซึ่งเป็นหน้ากากซ่อนอารมณ์ความรู้สึกของเราโดยไม่รู้ตัว เพื่อเก็บซ่อนความรู้สึกของเราจากคนอื่น หรือพยายามทำเหมือนเราไม่ได้รู้สึกจริงๆ 
จุดสังเกตว่าเราอาจกำลังสวม Emotion mask คือเมื่อเรา...
- แสร้งทำเป็นมีความสุขตอนที่เราไม่ได้สุข
- ทำเหมือนเราไม่คิดอะไรเกี่ยวกับเรื่องที่กวนใจเรา
- พูดในสิ่งที่โกรธตอนที่เรากำลังรู้สึกเศร้า
ลองนึกถึงเวลาที่คุณต้องซ่อนอารมณ์ เพื่อเริ่มจัดการกับความรู้สึกของตัวเองและทำแบบฝึกหัดตอบคำถามทีละข้อ


อ้างอิง
  1. Butler, E. A., Egloff, B., Wilhelm, F. H., Smith, N. C., Erickson, E. A., & Gross, J. J. (2003). The social consequences of expressive suppression. Emotion, 3, 48-67. 
  2. Gross, J. J., & John, O. P. (2003). Individual differences in two emotion regulation processes: Implications for affect, relationships, and well-being. Journal of Personality and Social Psychology, 85, 348-362. 
  3. Gross, J. J., & Levenson, R. W. (1993). Emotional suppression: Physiology, self-report, and expressive behavior. Journal of Personality and Social Psychology, 64, 970-986. 
  4. Gross, J. J., & Levenson, R. W. (1997). Hiding feelings: The acute effects of inhibiting negative and positive emotion. Journal of Abnormal Psychology, 106, 95-103. 
  5. Egloff, B., Schmukle, S. C., Burns, L. R., & Schwerdtfeger, A. (2006). Spontaneous emotion regulation during evaluated speaking tasks: Associations with negative affect, anxiety expression, memory, and physiological responding. Emotion, 6, 356-366. 
  6. Positivepsychology.com. Accessed Feb. 2AD.
  7. Pu, J., Schmeichel, B. J., & Demaree, H. A. (2010). Cardiac vagal control predicts spontaneous regulation of negative emotional expression and subsequent cognitive performance. Biological Psychology, 84, 531-540. 
  8. Roemer, L., Litz, B. T., Orsillo, S. M., & Wagner, A. W. (2001). A preliminary investigation of the role of strategic withholding of emotions in PTSD. Journal of Traumatic Stress, 14, 149-156. 
  9. Geller, J., Cockell, S. J., Hewitt, P. L., Goldner, E. M., & Flett, G. L. (2000). Inhibited expression of negative emotions and interpersonal orientation in anorexia nervosa. International Journal of Eating Disorders, 28, 8-19. 
  10. Gross, J. J., & John, O. P. (2003). Individual differences in two emotion regulation processes: Implications for affect, relationships, and well-being. Journal of Personality and Social Psychology, 85, 348-362. 
  11. Kopper, B. A., & Epperson, D. L. (1996). The experience and expression of anger: Relationships with gender, gender role socialization, depression, and mental health functioning. Journal of Counseling Psychology, 43, 158-165.